วันจันทร์ที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2553

วิธีการสร้าง USB Flash Drive ไว้ Boot และติดตั้ง Windows 7 หรือ Vista

การ ติดตั้ง Windows 7 หรือ Vista จาก USB Flash Drive OS ทั้งสองนี้ ใช้วิธีทำเหมือนกัน เพราะ windows 7 มันก็คือ Vista Upgrade นี้เอง โครงสร้างระบบเหมือนกัน เพียงแต่ว่า Windows 7 ทางไมโครซอฟต์ทำการบ้านมาดี ถึงจะเป็นเบต้า แต่โดยรวมทำงานได้ดีกว่า Vista ถ้าไม่พูดถึง Driver ของ Hardware ต่างๆ (ณ. ปัจจุบันยังมี Support น้อย) โดยเฉพาะด้านความเร็ว และการจัดสรรทรัพยากรของระบบ ประโยชน์ของการทำให้ติดตั้งผ่าน USB Flash Drive ก็เพื่อการสะดวกพกพา และความรวดเร็วในการติดตั้ง เพราะ USB Flash Drive ที่เป็น USB2 นั้นจะมีความเร็ว ถ่ายข้อมูลได้ไว้กว่า Harddisk

เตรียมอุปกรณ์
1. USB Flash Drive ควรจะมีความจุ 4 GB
2. แผ่นติดตั้ง Windows 7 หรือ Vista
3. คอมพิวเตอร์ที่สามารถที่มี BIOS บูตผ่าน USB Flash Drive ได้
ครบแล้วมาเริ่มกันเลย

หมายเหตุ : ขั้นตอนการทำผมใช้เครื่องที่มี Vista ลงอยู่แล้ว

ขั้นตอนการทำ
1. เสียบ USB Flash Drive เข้ากับช่อง USB ของเครื่อง ถ้า USB Flash Drive ยังมีข้อมูลก็ย้ายไปเก็บที่อื่นก่อน เพราะจะต้องมีการ Format

2. เปิดหน้า Command Prompt โดยสิทธิของ Admin. โดยพิมพ์คำสั่ง CMD ที่ Start Menu search box แล้วกดปุ่ม Ctrl + Shift แล้ว Enter หรือ คลืกที่ปุ่ม Start menu > All Programs > Accessories > คลิกขวาบน Command Prompt และเลือก Run as administrator


Click the image to open in full size.


3. ที่ Command Prompt พิมพ์ DISKPART แล้ว เสร็จให้พิมพ์คำว่า LIST DISK เพื่อตรวจดูว่า USB Flash Drive อยู่ที่ Disk เท่าไร คุณจะเห็นรายการ Disk ทั้งหมดของคุณ


Click the image to open in full size.


4. ต่อมาให้คุณเลือก Disk ที่เป็น USB Flash Drive ของคุณ ในที่นี่ เป็น Disk 5 ให้คุณพิมพ์คำสั่งต่อไปนี้

SELECT DISK 5
-คำสั่งเลือก Disk 5 เป็น เป้าหมาย

CLEAN
-คำสั่งล้างข้อมูลทั้งหมดใน USB Flash Drive

CREATE PARTITION PRIMARY
-คำสั่งสร้าง Partition ให้เป็นแบบ Primary

SELECT PARTITION 1
-เมื่อสร้างแล้วก็เลือก Partition 1

ACTIVE
-คำสั่งตั้งให้ เป็น Active เพื่อทำการบูตได้

FORMAT FS=NTFS
-Format ให้มันเป็นแบบ NTFS

ASSIGN
EXIT

หมายเหตุ: ตลอดขั้นตอนที่ทำห้ามปิดหน้าต่าง Command Prompt นะครับ จะต้องใช้ในขั้นตอนต่อไป แต่ minimize ได้


Click the image to open in full size.


5. เมื่อจบขั้นที่ 4 ให้คุณเอาแผ่น Windows 7 หรือ Vista ใส่ใน DVD Drive ของคุณ ตรวจสอบดูว่า DVD Drive เป็นอะไร เช่น D , E , F ให้เปิด My Computer ดู ในที่นี่ DVD Drive เป็น <> USB Flash Drive เป็น <>

6. มาที่หน้าต่าง Command Prompt จากข้อ 4 ให้พิมพ์
D:
CD BOOT


Click the image to open in full size.


7. เมื่อหน้าต่าง Command Prompt มาอยู่ที่ D:boot> ให้พิมพ์คำสั่ง BOOTSECT.EXE /NT60 I: เพื่อสร้าง Bootcode ไว้ที่ USB Flash Drive เสร็จแล้ว ปิดหน้าต่าง Command Prompt ได้

8. ให้คุณก็อปปี้ ข้อมูลบนแผ่น Windows 7 หรือ Vista ทั้งหมดลงที่ USB Flash Drive ใช้ก็อปทาง My computer

9. คุณก็จะได้ USB Flash Drive ที่สามารถ Boot และติดตั้ง Windows 7 หรือ Vista ได้ เพียงคุณไปตั้ง BIOS ของเครื่องที่ต้องการติดตั้งให้บูต USB Drive เป็นอันดับแรก เท่านั้น

เครดิต : augie@pantip.com / Thaigaming
ref http://yayee.spaces.live.com/blog/cns!70EBD1A96D280F5D!7924.entry

วันจันทร์ที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2553

การทำ VPN บน Windows 2003 Server

บทนำ
ในที่นี้เครื่อง
Windows 2003 Server ที่ใช้มี Network Card จำนวน 2 การ์ดคือ
1. เชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตเป็น 202.129.16.28
2.
เชื่อมต่อกับเครือข่ายภายใน เป็น 172.24.51.12

ความต้องการ
ต้องการให้สำนักงานในสังกัดหน่วยงานของตัวเองซึ่งอยู่ที่อื่น ๆ ที่มีการเชื่อมต่อกับเครือข่าย
Internet แล้ว สามารถ Access เข้ามาใช้งานเครือข่ายภายในที่มี IP ของเครือข่ายเป็น 172.24.51.0/24 ได้

จึงต้องทำให้
Server ตัวนี้เป็น VPN Server เพื่อให้สำนักงานอื่น ๆ ที่เชื่อมต่อกับเครือข่าย Internet สามารถ Access เข้าสู่เครือข่าย 172.24.51.0/24 ได้ โดยให้เชื่อมมาที่ขานอกของ Server ที่มี IP เป็น 202.129.16.28 จากนั้น Server ก็จะจ่าย IP ที่เป็น Private ให้กับเครื่องที่เชื่อมเข้ามา และสามารถทะลุเข้าไปยังยังเครือข่าย 172.24.51.0/24 โดยผ่านการ์ดที่เป็น Private ของ Server ที่มี IP เป็น 172.24.51.12 ต่อไปได้

ขั้นตอนการทำ
1. ไปที่เมนู
Start --> Administrative Tools --> Routing and Remote Access ดังรูปที่ 1



รูปที่ 1

2. แล้วจะได้ดังรูปที่ 2


รูปที่ 2

3. ให้คลิ๊กที่คำว่า Server Status แล้วเลือกเมนู Add Server ดังรูปที่ 3


รูปที่ 3

4. จะได้ดังรูปที่ 4 ให้เลือก This computer แล้วคลิ๊กปุ่ม OK


รูปที่ 4

5. แล้วจะได้ดังรูปที่ 5


รูปที่ 5

6. จากรูปที่ 5 ให้คลิ๊กที่ชื่อ Server แล้วเลือกเมนู Configure and Enable Routing and Remote Access ดังรูปที่ 6


รูปที่ 6

7. เมื่อได้ดังรูปที่ 7 ให้คลิ๊กปุ่ม Next


รูปที่ 7

8. เมื่อได้ดังรูปที่ 8 ให้เลือกรายการตามต้องการ ซึ่งถ้าต้องการทำ NAT ด้วยก็ให้เลือกรายการ Virtual Private Network (VPN) access and NAT แต่ในที่นี้เราต้องการทำ VPN อย่างเดียว ก็ให้เลือกรายการ Remote access (dial-up or VPN)


รูปที่ 8

9. เมื่อได้ดังรูปที่ 9 ให้เลือก VPN


รูปที่ 9

10. เมื่อได้ดังรูปที่ 10 ก็จะเป็นขั้นตอนการเลือกการ์ดแลนว่าการ์ดไหนเป็นการ์ดที่ติดต่อกับ Internet เพื่อ enable VPN clients ก็ให้เลือกการ์ดที่เชื่อมต่อกับ Internet ครับ


รูปที่ 10

11. เมื่อได้ดังรูปที่ 11 ก็จะเป็นขั้นตอนวิธีการจ่าย IP address ให้กับเครื่องที่ connect เข้ามา ซึ่ออาจจะใช้ DHCP Server หรือการกำหนดช่วงเอง ในที่นี้เลือกการกำหนดช่วงเอง ก็ให้เลือก From a specified range of address


รูปที่ 11

12. จากรูปที่ 12 ให้คลิ๊กปุ่ม New เพื่อการกำหนดค่า IP Address ที่จะจ่ายให้เครื่อง Client


รูปที่ 12

13. ให้ป้อนค่า IP address ที่จะจ่ายให้เครื่อง Client ดังรูปที่ 13


รูปที่ 13

14. เมื่อได้ดังรูปที่ 14 ให้คลิ๊กปุ่ม Next


รูปที่ 14

15. เมื่อได้ดังรูปที่ 15 ก็เป็นการกำหนดว่าจะให้มีการ Authenticate ผ่าน Radius Server หรือไม่ ในที่นี้ไม่ครับ


รูปที่ 15

16. เมื่อได้ดังรูปที่ 16 ให้คลิ๊กปุ่ม Finish


รูปที่ 16

17. รูปที่ 17 จะเกี่ยวกับ DHCP Server ซึ่งในที่นี้ไม่ใช้ก็ให้คลิ๊กปุ่ม OK


รูปที่ 17

18. เมื่อได้ดังรูปที่ 18 ให้คลิ๊กที่เครื่องหมาย +


รูปที่ 18

19. ก็จะได้ดังรูปที่ 19 เป็นอันเสร็จขั้นตอนครับ แต่ถ้ายังไม่ได้ทำ Static Route ก็ต้องทำซะด้วยนะครับ


รูปที่ 19


Ref http://www.itmanage.info/technology/windows/vpn_on_win_2003_server.html

วันจันทร์ที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2553

Fix Error Nul managerment Hp Serial

SUPPORT COMMUNICATION - CUSTOMER ADVISORY

Document ID: c01442875

Version: 1

Advisory: Unknown Devices May Be Displayed Under the "Other Devices" Section of the Windows Device Manager on ProLiant 100 Series G5 Servers
NOTICE: The information in this document, including products and software versions, is current as of the Release Date. This document is subject to change without notice.

Release Date: 2008-04-25

Last Updated: 2008-04-25


DESCRIPTION

Unknown devices may appear under the Other devices section of the Windows Device Manager after installing Windows Server 2003 or Windows Server 2008 on a ProLiant 100-Series G5 server (See Figure 1).

Figure 1: Unknown devices displayed under Other devices section of the Windows Device Manager.

This occurs because the appropriate drivers have not been installed on the ProLiant 100-Series G5 server running Windows Server 2003 or Windows Server 2008. The Unknown devices should be labeled as "HP Null Management Controller" and "Microsoft Generic IPMI Compliant Devices."

SCOPE

Any ProLiant 100-Series G5 server running Windows Server 2003 or Windows Server 2008.

RESOLUTION

The Unknown devices displayed in the Other devices section can be safely ignored if there is not a plan to use Windows Management Instrumentation (WMI). One of the Unknown devices should be labeled as "Microsoft Generic IPMI Compliant Device," which is used for WMI.

If WMI must be used, install the HP Null Management Controller driver and HP Null IPMI Controller driver, which will replace the Unknown device display in the Other devices section.

Choose one of the following methods to install the HP Null Management Controller driver and the HP Null IPMI Controller driver, depending on which operating system update version is planned to be used:

Method 1: For Windows Server 2003 SP2

If Windows Server 2003 SP2 is installed, perform the following:

  1. Install Windows Server 2003 SP2 and the chipset, NIC, and VGA drivers.
  2. Locate the Control Panel and choose Add/Remove Windows Components .
  3. Choose Management and Monitoring Tools .
  4. Choose Hardware Management to install KCS (CA2 CA3) driver by highlighting (do not check the box in front).
  5. Check the box next to Hardware Management.
  6. Choose OK in the 3rd Party Drivers box.
  7. Place the SP1 or the R2/Disk2 CD into the drive.
  8. Choose Finish in the Completing the Windows Components Wizard window.
  9. Locate the Device Manager and view the status.
  10. Install the HP release Smart-Package for IPMI driver (CA0 CA1) from the Support CD Version 2.0. This is located under the System devices section of the Device Manager, labeled HP Null Management Controller and Microsoft Generic IPMI Compliant Device (See Figure 2.)

Figure 2: HP Null Management Controller and Microsoft Generic IPMI Compliant Device.

Note: If Windows Server 2003 SP1 is already installed on the server, HP recommends updating to Windows Server 2003 SP2 prior to installing the drivers in the above procedure. If Windows Server 2003 SP1 was never installed on the server, it is necessary to first install SP1 prior to installing SP2.

Method 2: For Windows Server 2003 SP1

If Windows Server 2003 SP1 is currently installed and there are no plans to update to Windows Server 2003 SP2, perform the following to download the HP Null IPMI Controller Driver:

  1. Go to

    www.hp.com

  2. Select Software and Driver downloads.
  3. In the Search field type: "cp008390.exe."
  4. In the Search Results box select: HP NULL IPMI Controller Driver for Windows Server 2003 .
  5. Choose to download .

After downloading the HP Null IPMI Controller Driver, perform the following to download the HP Null Management Controller Driver:

  1. Go to

    www.hp.com

  2. Select Software and Driver downloads.
  3. In the Search field type: "cp008388.exe."
  4. In the Search Results box select: HP NULL IPMI Controller Driver for Windows Server 2003 x64 Editions.
  5. Choose to download .
RECEIVE PROACTIVE UPDATES : Receive support alerts (such as Customer Advisories), as well as updates on drivers, software, firmware, and customer replaceable components, proactively via e-mail through HP Subscriber's Choice. Sign up for Subscriber's Choice at the following URL:


NAVIGATION TIP : For hints on navigating HP.com to locate the latest drivers, patches, and other support software downloads for ProLiant servers and Options, refer to the Navigation Tips document .
SEARCH TIP : For hints on locating similar documents on HP.com, refer to the Search Tips document .

Hardware Platforms Affected: HP ProLiant DL160 G5 Server series, HP ProLiant DL165 G5 Server series, HP ProLiant DL185 G5 Server series, HP ProLiant ML110 G5 Server series, HP ProLiant DL180 G5 Server series, HP ProLiant ML115 G5 Server series, HP ProLiant ML150 G5 Server series, HP ProLiant DL145 Server series, HP ProLiant DL140 Server series, HP ProLiant DL120 G5 Server series
Operating Systems Affected: Microsoft Windows Server 2003 R2 Enterprise Option Kit SW(Standard HP Product), Microsoft Windows Server 2003 R2, Microsoft Windows Server 2003 Enterprise x64(Standard HP Product), Microsoft Windows Server 2003 Standard x64(Standard HP Product), Microsoft Windows Server 2008, Microsoft Windows Server 2003 Enterprise Edition(Standard HP Product), Microsoft Windows Server 2003 R2 Standard X64 Option Kit SW(Standard HP Product), Microsoft Windows Server 2003 R2 Enterprise X64 Option Kit SW(Standard HP Product), Microsoft Windows Server 2003 R2 Standard Edition (deleted), Microsoft Windows Server 2003 Standard Edition(Standard HP Product)
Software Affected: Not Applicable
Support Communication Cross Reference ID: IA01442875
©Copyright 2008 Hewlett-Packard Development Company, L.P.
Hewlett-Packard Company shall not be liable for technical or editorial errors or omissions contained herein. The information provided is provided "as is" without warranty of any kind. To the extent permitted by law, neither HP or its affiliates, subcontractors or suppliers will be liable for incidental,special or consequential damages including downtime cost; lost profits;damages relating to the procurement of substitute products or services; or damages for loss of data, or software restoration. The information in this document is subject to change without notice. Hewlett-Packard Company and the names of Hewlett-Packard products referenced herein are trademarks of Hewlett-Packard Company in the United States and other countries. Other product and company names mentioned herein may be trademarks of their respective owners.

วันพุธที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

Logon Script Map Drive แบบกำหนด User/Password

Map Drive z จาก Share File ที่ชื่อ Public จากเครื่อง 192.168.xx.xx ซึ่งเป็น Domain ชื่อ test.com ซึ่ง มี Username = test และ Password = 123456 ในการเข้าถึงได้แบบ Full Control

net use z: /delete /yes
net use z: \\192.168.xx.xx\Public /user:test.com\test "123456" /persistent:yes

Ex. Struct

===========

net use y: /delete /yes
net use y: \\Ipaddress\Folder /user:domain\user "password" /persistent:yes

===========

ใส่ Notepad แล้ว Save เป็น login.bat นำไปไว้ที่

C:\WINDOWS\SYSVOL\sysvol\rujirapong.com\scripts

ของเครื่อง Domain

หลังจากนั้นเปิด Active Directory Users and Computers ขึ้นมา แล้วคลิ๊กขวาที่ User ที่ต้องการจะทำ Logon Script โดยเลือก Properties

ไปที่ Tab Profile ในช่อง Logon Script ระบุ login.bat

จบ

วันอังคารที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

วิธีแก้ Unknow Device ML150G5 Win2008

HP ProLiant 100 Series Servers Null Management INF Installer Smart Component for Microsoft Windows Server 2003/2008

Type: Driver - System Management
Version: 1.0.0.0 (26 Feb 2008)
Operating System(s): Microsoft Windows Server 2003, Microsoft Windows Server 2008 W32
File name: cp008464.exe (482 KB)

http://h20000.www2.hp.com/bizsupport/TechSupport/SoftwareDescription.jsp?lang=en&cc=us&prodTypeId=15351&prodSeriesId=3580698&prodNameId=3580699&swEnvOID=1005&swLang=8&mode=2&taskId=135&swItem=MTX-b8943f6c78904e42a93d8e6848

====================================================================
This component installs a driverless INF file for the management function that is provided by the ACPI\HPI0002 device on the HP ProLiant 100 Series platforms. The INF file prevents the "unknown device" entry (a yellow bang) from displaying for the device, ACPI\HPI0002, in Windows Device Manager. This component is only needed on Generation 5 platforms or later if the unknown device entry is present in Device Manager.

วันพฤหัสบดีที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2553

Backup Picture

เปิดการใช้งาน Load Balance For Xp

Enable_Load_balancing

Code Reg
=============================================
Windows Registry Editor Version 5.00

[HKEY_LOCAL_MACHINE\SYSTEM\CurrentControlSet\Services\NetBT\Parameters]
"RandomAdapter"=dword:00000001
"SingleResponse"=dword:00000001

=============================================
Disable_Load_balancing

Code Reg
=============================================
Windows Registry Editor Version 5.00

[HKEY_LOCAL_MACHINE\SYSTEM\CurrentControlSet\Services\NetBT\Parameters]
"RandomAdapter"=dword:00000000
"SingleResponse"=dword:00000000
=============================================

วันพุธที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2553

Forgotten root Password

Forgotten root Password

Help! I forgot my root password. How do I log in now?

You can log in using single-user mode and create a new root password.

To enter single-user mode, reboot your computer. If you use the default boot loader, GRUB, you can enter single user mode by performing the following:

1. At the boot loader menu, use the arrow keys to highlight the installation you want to edit and type [A] to enter into append mode.

2. You are presented with a prompt that looks similar to the following:

grub append> ro root=LABEL=/

3. Press the Spacebar once to add a blank space, then add the word single to tell GRUB to boot into single-user Linux mode. The result should look like the following:

ro root=LABEL=/ single

4. Press [Enter] and GRUB will boot single-user Linux mode. After it finishes loading, you will be presented with a shell prompt similar to the following:

sh-2.05b#

5. You can now change the root password by typing

passwd root

You will be asked to re-type the password for verification. Once you are finished, the password will be changed. You can then reboot by typing reboot at the prompt; then you can log in to root as you normally would.
==================================
ลืมรหัสผ่านของ root
: วิธีนี้ใช้ได้ใน Redhat version 6.2 แน่นอน แต่รุ่นอื่นก็มีวิธีต่างกันไปบ้างเล็กน้อย
ผมทราบวิธีนี้เพราะเข้าไปดูที่ redhat.com ในส่วนของ FAQ และที่ต้องเข้าไปดูก็เพราะมี hacker จาก 193.231.178.98 เข้ามาด้วย operator account แล้วเปลี่ยนรหัสผ่านของ root ไป ทำให้ผมไม่สามารถเข้าไปสร้างผู้ใช้ใหม่ได้ ถามหลาย ๆ ท่านก็บอกให้ใช้แผ่นบูต แบบ linux rescue ผมก็เข้าไป จะ mount จะอะไรก็ไม่ได้ อาจเป็นเพราะยังไม่ชำนาญ แต่วิธีการเรียกรหัสผ่านของ root คืนในแบบที่ผมได้มานี้ ง่ายกว่าวิธีใด ๆ แน่นอน แต่ต้องทำที่ Console
    ขั้นตอนสำหรับ LILO
  1. เมื่อ Restart เครื่อง ก่อนเข้าระบบ ให้กด Alt-X ขณะที่อยู่ที่ LILO prompt แล้วพิมพ์ว่า linux single
  2. เมื่อเข้าไปจะได้สถานะเป็น root ทันที ก็เพียงแต่ใช้คำสั่ง passwd root แล้ว reboot ก็เรียบร้อยแล้ว
    ขั้นตอนสำหรับ GRUB
  1. เมื่อ Restart เครื่อง ก่อนเข้าระบบขณะที่อยู่ที่ GRUB prompt ให้กด e
  2. พบ Fedora กด e แล้วพบ Kernel กด e แล้วพิมพ์ single ต่อท้ายคำสั่งที่ใช้ boot ระบบ
  3. ออกมาแล้วกด b เพื่อ boot ตามคำสั่งที่แก้ไขนั้น ก็จะเข้า #
  4. เมื่อเข้าไปจะได้สถานะเป็น root ทันที ก็เพียงแต่ใช้คำสั่ง passwd root เพื่อเปลี่ยนรหัสผ่าน แล้ว reboot ก็เรียบร้อยแล้ว
    สำหรับเครื่อง Sun
  1. ซึ่งเป็น Unix server ที่ดี จะใช้การ Reboot และกดปุ่ม stop a แล้วใช้คำสั่ง boot -s
==============================================
วิธีแก้ password ใน redhat 9

ทำการ boot แผ่นที่ 1 ขึ้นมา แล้วกด F5

boot : linux rescue

จากนั้นก็ set ค่าที่แสดงขึ้นมา จนถึงเครื่องหมาย #

sh-3.00# chroot /mnt/sysimage

sh-3.00# passwd root

New UNIX password : <>

Retype new UNIX password : <>

ถึงขั้นตอนนี้ก็สามารถเปลี่ยน password ได้แล้ว



วิธีแก้ password ใน fedora core 3

วิธีนี้ไม่จำเป็นต้องใช้แผ่น boot

พอเริ่มทำการ boot linux ให้กด a

grub append / ro root = LABLE = / rhgb guiet 1 <<<--- พิมพ์ 1 เพิ่มเข้าไป เพื่อให้ boot แบบ single mode

sh-3.00# passwd root

New UNIX password : <>

Retype new UNIX password : <>

ถึงขั้นตอนนี้ก็สามารถเปลี่ยน password ได้เช่นกัน


*** Alternatives (by Yoshijo)

Fedora Core 3

ใส่ Fedora Core 3 Disc 1 แล้ว boot เครื่องให้เริ่มจาก CD

ให้พิมพ์ที่ prompt ของ Fedora Installer Wizard ว่า linux-rescue (F5)

ทำตามขั้นตอนต่างๆ ที่กำหนด

sh-3.00# vi /chroot/etc/shadow

จากนั้น ลบ Password ของ root ออก และ ทำการ save ( พิมพ์ :wq ที่ global vi command mode)

จากนั้น กด CTRL+ALT+DEL เพื่อ reboot

เมื่อบูทถึงหน้า Login ให้ login เป็น root โดยไม่ต้องใส่ paasword

[root@localhost]#passwd

New UNIX password : <>

Retype new UNIX password : <>

ถึงขั้นตอนนี้ก็สามารถเปลี่ยน password ได้เช่นกัน



วิธีแก้ password ใน Slackware (หรือ Distro อื่นๆ ที่ใช้ Boot Loader เป็น LILO)

เมื่อ Restart เครื่อง ก่อนเข้าระบบ ให้กด Alt-X ขณะอยู่ที่ LILO prompt แล้วพิมพ์ว่า linux single เมื่อเข้าไปจะได้สถานะเป็น root ทันที ก็เพียงแต่ใช้คำสั่ง passwd root แล้ว reboot

เพิ่มเติมให้แล้วกัน อิอิ กรณีไม่มีแผ่นบูต

ใน Red Hat Family ในหน้า Grub ที่จะแสดง os ในเครื่องนั้น ให้เลือกไปที่ Linux ... และกดปุ่ม e จะสามารถเข้าไป Edit ให้เลือกบรรทัดไปที่ ส่วนของ linux จากนั้นให้กด e อีกครั้งจะสามารถ edit ข้อมูลบรรทัดนั้น ๆ ได้ ให้ เลื่อนไปสุดบรรทัด และพิมพ์ s

ทำสัก 2 บรรทัด ของ linux อะ จะออกมาเป็น
root (hd0,0) s
kernal /vmlinuz-2.6.9-42.EL ro root=LABEL=/ rhgb quiet s

ตรง s ของทั้งสองบรรทัดเนี้ย เพิ่มมาทีหลัง จากนั้นกดที่ปุ่ม b จะเป็นการ reboot
เมื่อ boot มาใหม่จะเข้าสู่ single mode ซึ่งก็ทำการแก้ไขรหัส ด้วยคำสั่ง
passwd ได้เลย จะใส่ root หรือไม่ก็ได้ เพราะ หากเราพิมพ์คำสั่ง passwd เฉย ๆ ระบบจะรู้เองว่าเราต้องการแก้ไข password ของ root ครับผม

ปล.ข้อนี้เป็นข้อแรกของการสอบ RHCE นะครับ ไม่มีแผ่นบูตให้นะ อิอิ
ยังไงจะไปสอบก็อย่าตกม้าตายในข้อนี้นะ เอามาบอกแว้วอะ

อ๋อเพิ่มเติม เมื่อ reboot ครั้งต่อไปก็จะ boot อย่างปกตินะ ระบบจะตัว s ออกให้เองโดยอัตโนมัติ

วันจันทร์ที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2553

ความหมายของเลขประจำตัวประชาชนทั้ง13หลัก

หลักที่ 1 หมายถึงประเภทบุคคลซึ่งมี 8 ประเภท คือ

ประเภทที่ 1 ได้แก่ คนที่เกิดและมีสัญชาติไทย ได้แจ้งเกิดภายในกำหนดเวลา (ตั้งแต่ 1 มกราคม 2527)
ประเภทที่ 2 ได้แก่ คนที่เกิดและมีสัญชาติไทย ได้แจ้งเกิดเกินกำหนดเวลา (ตั้งแต่ 1 มกราคม 2527)
ประเภทที่ 3 ได้แก่ คนไทยและคนต่างด้าวที่มีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว และมีที่อยู่ในทะเบียนบ้าน ในสมัยเริ่มแรก (1 มกราคม - 31 พฤษภาคม 2527)
ประเภทที่ 4 ได้แก่ คนไทยและคนต่างด้าวที่มีใบสำคัญคนต่างด้าวแต่แจ้งย้ายเข้า โดยยังไม่มีเลขประจำตัวประชาชนในสมัยเริ่มแรก (1 มกราคม - 31 พฤษภาคม 2527)
ประเภทที่ 5 ได้แก่ คนไทยที่ได้รับอนุมัติให้เพิ่มชื่อเข้าในทะเบียนบ้านในกรณีตกสำรวจหรือกรณีอื่น ๆ
ประเภทที่ 6 ได้แก่ ผู้ที่เข้าเมืองโดยไม่ชอบด้วยกฏหมาย และผู้ที่เข้าเมืองโดยชอบด้วยกฏหมาย แต่จะอยู่ในลักษณะชั่วคราว
ประเภทที่ 7 ได้แก่ บุตรของบุคคลประเภทที่ 6 ซึ่งเกิดในประเทศไทย
ประเภทที่ 8 ได้แก่ คนต่างด้าวที่เข้าเมืองโดยถูกต้องตามกฏหมาย คือ ได้รับใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว คนที่ได้รับการแปลงสัญชาติเป็นสัญชาติไทย และคนที่ได้รับการให้สัญชาติไทย
ประเภทที่ 9 ได้แก่ พระบรมวงศานุวงศ์ ทุกพระองค์ครับ

หลักที่ 2 ถึงหลักที่ 5 หมายถึงรหัสของสำนักทะเบียนที่ท่านมีชื่อในทะเบียนบ้านในขณะให้เลข สำหรับเด็กเกิดใหม่จะหมายถึงถิ่นที่เกิดเลยทีเดียว โดยหลักที่ 2 และ 3 หมายถึงจังหวัด หลักที่ 4 และ 5 หมายถึงอำเภอ หรือเทศบาล

หลักที่ 6 ถึงหลักที่ 10 หมายถึงกลุ่มที่ของบุคคลแต่ละประเภทตามหลักแรก หรือหมายถึงเล่มที่ ของสูติบัตร แล้วแต่กรณี

หลักที่ 11 และ 12 หมายถึงลำดับที่ของบุคคลในแต่ละกลุ่มประเภท หรือหมายถึงใบที่ของสูติบัตรแต่ละเล่ม แล้วแต่กรณี

หลักที่ 13 คือ ตัวเลขตรวจสอบความถูกต้องของเลข 12 หลักแรก

ที่มา : http://www.dopa.go.th/fop/pid13.htm