วันพฤหัสบดีที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2553

Backup Picture

เปิดการใช้งาน Load Balance For Xp

Enable_Load_balancing

Code Reg
=============================================
Windows Registry Editor Version 5.00

[HKEY_LOCAL_MACHINE\SYSTEM\CurrentControlSet\Services\NetBT\Parameters]
"RandomAdapter"=dword:00000001
"SingleResponse"=dword:00000001

=============================================
Disable_Load_balancing

Code Reg
=============================================
Windows Registry Editor Version 5.00

[HKEY_LOCAL_MACHINE\SYSTEM\CurrentControlSet\Services\NetBT\Parameters]
"RandomAdapter"=dword:00000000
"SingleResponse"=dword:00000000
=============================================

วันพุธที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2553

Forgotten root Password

Forgotten root Password

Help! I forgot my root password. How do I log in now?

You can log in using single-user mode and create a new root password.

To enter single-user mode, reboot your computer. If you use the default boot loader, GRUB, you can enter single user mode by performing the following:

1. At the boot loader menu, use the arrow keys to highlight the installation you want to edit and type [A] to enter into append mode.

2. You are presented with a prompt that looks similar to the following:

grub append> ro root=LABEL=/

3. Press the Spacebar once to add a blank space, then add the word single to tell GRUB to boot into single-user Linux mode. The result should look like the following:

ro root=LABEL=/ single

4. Press [Enter] and GRUB will boot single-user Linux mode. After it finishes loading, you will be presented with a shell prompt similar to the following:

sh-2.05b#

5. You can now change the root password by typing

passwd root

You will be asked to re-type the password for verification. Once you are finished, the password will be changed. You can then reboot by typing reboot at the prompt; then you can log in to root as you normally would.
==================================
ลืมรหัสผ่านของ root
: วิธีนี้ใช้ได้ใน Redhat version 6.2 แน่นอน แต่รุ่นอื่นก็มีวิธีต่างกันไปบ้างเล็กน้อย
ผมทราบวิธีนี้เพราะเข้าไปดูที่ redhat.com ในส่วนของ FAQ และที่ต้องเข้าไปดูก็เพราะมี hacker จาก 193.231.178.98 เข้ามาด้วย operator account แล้วเปลี่ยนรหัสผ่านของ root ไป ทำให้ผมไม่สามารถเข้าไปสร้างผู้ใช้ใหม่ได้ ถามหลาย ๆ ท่านก็บอกให้ใช้แผ่นบูต แบบ linux rescue ผมก็เข้าไป จะ mount จะอะไรก็ไม่ได้ อาจเป็นเพราะยังไม่ชำนาญ แต่วิธีการเรียกรหัสผ่านของ root คืนในแบบที่ผมได้มานี้ ง่ายกว่าวิธีใด ๆ แน่นอน แต่ต้องทำที่ Console
    ขั้นตอนสำหรับ LILO
  1. เมื่อ Restart เครื่อง ก่อนเข้าระบบ ให้กด Alt-X ขณะที่อยู่ที่ LILO prompt แล้วพิมพ์ว่า linux single
  2. เมื่อเข้าไปจะได้สถานะเป็น root ทันที ก็เพียงแต่ใช้คำสั่ง passwd root แล้ว reboot ก็เรียบร้อยแล้ว
    ขั้นตอนสำหรับ GRUB
  1. เมื่อ Restart เครื่อง ก่อนเข้าระบบขณะที่อยู่ที่ GRUB prompt ให้กด e
  2. พบ Fedora กด e แล้วพบ Kernel กด e แล้วพิมพ์ single ต่อท้ายคำสั่งที่ใช้ boot ระบบ
  3. ออกมาแล้วกด b เพื่อ boot ตามคำสั่งที่แก้ไขนั้น ก็จะเข้า #
  4. เมื่อเข้าไปจะได้สถานะเป็น root ทันที ก็เพียงแต่ใช้คำสั่ง passwd root เพื่อเปลี่ยนรหัสผ่าน แล้ว reboot ก็เรียบร้อยแล้ว
    สำหรับเครื่อง Sun
  1. ซึ่งเป็น Unix server ที่ดี จะใช้การ Reboot และกดปุ่ม stop a แล้วใช้คำสั่ง boot -s
==============================================
วิธีแก้ password ใน redhat 9

ทำการ boot แผ่นที่ 1 ขึ้นมา แล้วกด F5

boot : linux rescue

จากนั้นก็ set ค่าที่แสดงขึ้นมา จนถึงเครื่องหมาย #

sh-3.00# chroot /mnt/sysimage

sh-3.00# passwd root

New UNIX password : <>

Retype new UNIX password : <>

ถึงขั้นตอนนี้ก็สามารถเปลี่ยน password ได้แล้ว



วิธีแก้ password ใน fedora core 3

วิธีนี้ไม่จำเป็นต้องใช้แผ่น boot

พอเริ่มทำการ boot linux ให้กด a

grub append / ro root = LABLE = / rhgb guiet 1 <<<--- พิมพ์ 1 เพิ่มเข้าไป เพื่อให้ boot แบบ single mode

sh-3.00# passwd root

New UNIX password : <>

Retype new UNIX password : <>

ถึงขั้นตอนนี้ก็สามารถเปลี่ยน password ได้เช่นกัน


*** Alternatives (by Yoshijo)

Fedora Core 3

ใส่ Fedora Core 3 Disc 1 แล้ว boot เครื่องให้เริ่มจาก CD

ให้พิมพ์ที่ prompt ของ Fedora Installer Wizard ว่า linux-rescue (F5)

ทำตามขั้นตอนต่างๆ ที่กำหนด

sh-3.00# vi /chroot/etc/shadow

จากนั้น ลบ Password ของ root ออก และ ทำการ save ( พิมพ์ :wq ที่ global vi command mode)

จากนั้น กด CTRL+ALT+DEL เพื่อ reboot

เมื่อบูทถึงหน้า Login ให้ login เป็น root โดยไม่ต้องใส่ paasword

[root@localhost]#passwd

New UNIX password : <>

Retype new UNIX password : <>

ถึงขั้นตอนนี้ก็สามารถเปลี่ยน password ได้เช่นกัน



วิธีแก้ password ใน Slackware (หรือ Distro อื่นๆ ที่ใช้ Boot Loader เป็น LILO)

เมื่อ Restart เครื่อง ก่อนเข้าระบบ ให้กด Alt-X ขณะอยู่ที่ LILO prompt แล้วพิมพ์ว่า linux single เมื่อเข้าไปจะได้สถานะเป็น root ทันที ก็เพียงแต่ใช้คำสั่ง passwd root แล้ว reboot

เพิ่มเติมให้แล้วกัน อิอิ กรณีไม่มีแผ่นบูต

ใน Red Hat Family ในหน้า Grub ที่จะแสดง os ในเครื่องนั้น ให้เลือกไปที่ Linux ... และกดปุ่ม e จะสามารถเข้าไป Edit ให้เลือกบรรทัดไปที่ ส่วนของ linux จากนั้นให้กด e อีกครั้งจะสามารถ edit ข้อมูลบรรทัดนั้น ๆ ได้ ให้ เลื่อนไปสุดบรรทัด และพิมพ์ s

ทำสัก 2 บรรทัด ของ linux อะ จะออกมาเป็น
root (hd0,0) s
kernal /vmlinuz-2.6.9-42.EL ro root=LABEL=/ rhgb quiet s

ตรง s ของทั้งสองบรรทัดเนี้ย เพิ่มมาทีหลัง จากนั้นกดที่ปุ่ม b จะเป็นการ reboot
เมื่อ boot มาใหม่จะเข้าสู่ single mode ซึ่งก็ทำการแก้ไขรหัส ด้วยคำสั่ง
passwd ได้เลย จะใส่ root หรือไม่ก็ได้ เพราะ หากเราพิมพ์คำสั่ง passwd เฉย ๆ ระบบจะรู้เองว่าเราต้องการแก้ไข password ของ root ครับผม

ปล.ข้อนี้เป็นข้อแรกของการสอบ RHCE นะครับ ไม่มีแผ่นบูตให้นะ อิอิ
ยังไงจะไปสอบก็อย่าตกม้าตายในข้อนี้นะ เอามาบอกแว้วอะ

อ๋อเพิ่มเติม เมื่อ reboot ครั้งต่อไปก็จะ boot อย่างปกตินะ ระบบจะตัว s ออกให้เองโดยอัตโนมัติ

วันจันทร์ที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2553

ความหมายของเลขประจำตัวประชาชนทั้ง13หลัก

หลักที่ 1 หมายถึงประเภทบุคคลซึ่งมี 8 ประเภท คือ

ประเภทที่ 1 ได้แก่ คนที่เกิดและมีสัญชาติไทย ได้แจ้งเกิดภายในกำหนดเวลา (ตั้งแต่ 1 มกราคม 2527)
ประเภทที่ 2 ได้แก่ คนที่เกิดและมีสัญชาติไทย ได้แจ้งเกิดเกินกำหนดเวลา (ตั้งแต่ 1 มกราคม 2527)
ประเภทที่ 3 ได้แก่ คนไทยและคนต่างด้าวที่มีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว และมีที่อยู่ในทะเบียนบ้าน ในสมัยเริ่มแรก (1 มกราคม - 31 พฤษภาคม 2527)
ประเภทที่ 4 ได้แก่ คนไทยและคนต่างด้าวที่มีใบสำคัญคนต่างด้าวแต่แจ้งย้ายเข้า โดยยังไม่มีเลขประจำตัวประชาชนในสมัยเริ่มแรก (1 มกราคม - 31 พฤษภาคม 2527)
ประเภทที่ 5 ได้แก่ คนไทยที่ได้รับอนุมัติให้เพิ่มชื่อเข้าในทะเบียนบ้านในกรณีตกสำรวจหรือกรณีอื่น ๆ
ประเภทที่ 6 ได้แก่ ผู้ที่เข้าเมืองโดยไม่ชอบด้วยกฏหมาย และผู้ที่เข้าเมืองโดยชอบด้วยกฏหมาย แต่จะอยู่ในลักษณะชั่วคราว
ประเภทที่ 7 ได้แก่ บุตรของบุคคลประเภทที่ 6 ซึ่งเกิดในประเทศไทย
ประเภทที่ 8 ได้แก่ คนต่างด้าวที่เข้าเมืองโดยถูกต้องตามกฏหมาย คือ ได้รับใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว คนที่ได้รับการแปลงสัญชาติเป็นสัญชาติไทย และคนที่ได้รับการให้สัญชาติไทย
ประเภทที่ 9 ได้แก่ พระบรมวงศานุวงศ์ ทุกพระองค์ครับ

หลักที่ 2 ถึงหลักที่ 5 หมายถึงรหัสของสำนักทะเบียนที่ท่านมีชื่อในทะเบียนบ้านในขณะให้เลข สำหรับเด็กเกิดใหม่จะหมายถึงถิ่นที่เกิดเลยทีเดียว โดยหลักที่ 2 และ 3 หมายถึงจังหวัด หลักที่ 4 และ 5 หมายถึงอำเภอ หรือเทศบาล

หลักที่ 6 ถึงหลักที่ 10 หมายถึงกลุ่มที่ของบุคคลแต่ละประเภทตามหลักแรก หรือหมายถึงเล่มที่ ของสูติบัตร แล้วแต่กรณี

หลักที่ 11 และ 12 หมายถึงลำดับที่ของบุคคลในแต่ละกลุ่มประเภท หรือหมายถึงใบที่ของสูติบัตรแต่ละเล่ม แล้วแต่กรณี

หลักที่ 13 คือ ตัวเลขตรวจสอบความถูกต้องของเลข 12 หลักแรก

ที่มา : http://www.dopa.go.th/fop/pid13.htm